humanistic informatics for human freedom
สั้นๆ ถ้าไม่มีใครดี ก็อย่าไปเลือกมัน ไปใช้สิทธิ กาช่อง “ไม่ลงคะแนน” ซะ
ยาวๆ ไปอ่านที่ อ.นิธิ เขียน - เลือกที่จะไม่เลือก
"เลือกที่จะไม่เลือก" ที่วิกิพีเดีย
สมมติว่าไม่มีใครได้เลยแล้วจะทำไง
ไร้สาระ ฆ่าคนที่ที่คิดว่าเป็นโจรไปซักสิบคน โจรจะสำนึกผิดหรือไง แม้คน ๆ เดียวกันยังมีทั้งส่วนดีส่วนเลว เราก็ควรจะเลือกเอาส่วนดีนั้นออกมาใช้ เลิกอ่านเถอะบทความของนิธิน่ะ งี่เง่า ไร้สาระ
อ้าวไหนว่าจะเลือก ชูวิทย์ ... (นึกว่ามีเพื่อนร่วมอุดมการณ์)
แล้วทำไมต้องโดนบังคับเลือกด้วยล่ะ?มันควรจะมีกฏหมายที่ว่า ถ้าผู้สมัครที่ได้คะแนนที่ 1 กับที่ 2 (3,4,.. )ได้คะแนนเสียงขาดกันไม่เกินกี่ % ให้เอาคนที่ได้คะแนนสูงสุด n คนมาเลือกกันใหม่(n จะกำหนดตายตัวก็ได้ หรือจะแปรตามจำนวนส่วนต่างของเสียงก็ได้)-- แบบนี้ก็น่าจะลดเรื่อง "ดึงคะแนน" ได้ด้วยสมมติ a b cและสมมติ a b ดีพอๆ กัน และมีนโยบายคล้ายๆ กันส่วน c ดีน้อยกว่าหน่อย แต่นโยบายแตกต่างจาก a กะ bแบบนี้กลุ่มคนที่ชอบทั้ง a กะ b ก็ไม่รู้จะเอาไงดี ก็ต้องเลือกคนใดคนหนึ่ง -- เสียงแตกมันก็เป็นไปได้ที่ c จะได้รับเลือกไปและถ้าเกิดว่าคนที่ได้คะแนนสูงสุด ยังได้คะแนนไม่เกินครึ่งนึงของผู้มีสิทธิลงคะแนน(หรือจำนวนผู้มาลงคะแนน -- หรือจำนวนคะแนนสุทธิทั้งหมด, หักบัตรเสียแล้ว)คนที่ได้คะแนนสูงสุดก็ไม่น่าจะเรียกได้ว่าเป็น "ผู้แทนราษฎร" ได้นะเลือกกันใหม่ไม่ได้เหรอครับ?ไม่อยากโดน บังคับเลือก นักเลือกตั้ง น่ะอยากเลือก ตัวแทน
ไม่เลือกใคร ก็ไม่เห็นเป็นไร ถ้าไม่ถูกใจ หรือถ้าบอกว่าคะแนนไม่ถึงกี่ % ต้องเลือกใหม่ มันก็คล้ายๆ ในการลงคะแนนอะไรหลายๆ อย่างเหมือนกรรมการบริษัทแต่ไอ้เหตุผลในบทความนั้นมันงี่เง่านะผมว่า ไม่เลือก เพื่อเป็นการสั่งสอนนักการเมืองเหรอ? เพื่อแสดงใ้ห้รู้ว่าเราไม่พอใจตัวเลือกเหรอ? คิดว่านักการเมืองสนเหรอ???แล้วถ้าสนแล้ว? (ไอ้ที่ว่าจะสนแล้วจะได้ไปทำนโยบายใหม่ วางตัวคนใหม่ เพื่อให้ถูกใจมากขึ้นนี่ ตลกมาก ตลกจริงๆ)ผมว่าบทความมันเอาเรื่องนู้นเรื่องนี้มาตีกันมั่วมาก เหตุผลก็ไม่ได้ต่อเนื่องอะไรกันซักนิด(ขอโทษที่ดุเดือดไปหน่อย ได้เรื่องนี้จาก forward mail หลายทีแล้ว อ่านแล้วหงุดหงิดว่ามันคิดได้ไงวะ)ichris
เหตุผลหลักๆ ที่ผมโปรโมตเวบนั้นก็เพราะอยากจะบอกให้รู้ กันลืม ว่าเรามีสิทธิที่จะทำอย่างนั้นนะส่วนใครจะใช้เหตุผลอะไรอย่างไรก็แล้วจะพิจารณาตัวผมเองไม่คิดว่านักการเมืองที่ลงเลือกจะสนใจอะไรแต่ถ้าผลมันออกมาว่าไม่มีใครได้รับเลือกจริงๆมันจะเป็นการส่งสัญญานให้คนอื่นๆ ที่เคยอยากลงรับสมัครแต่ไม่กล้าลงเพราะคิดไปว่า กูไม่ได้สังกัดพรรคใหญ่ลงไปยังไงก็คงไม่ได้รับเลือก อาจจะได้มีความกล้าขึ้นมาบ้างนี่ก็เหตุผลหนึ่งอีกเหตุผลหนึ่งก็คือ ถ้าผลมันออกมางั้นจริงๆ (ไม่มีใครได้รับเลือก)มันก็จะเป็นข่าว แล้วประชาชนทั่วไปก็จะได้รู้ว่า คะแนนเสียงน่ะเป็นของเค้าจริงๆอำนาจน่ะอยู่ที่มือเค้า ต่อไปเวลาจะเลือก หรือมีเหตุการณ์อะไรเค้าก็จะได้ตระหนักมากขึ้น ว่า 1 เสียงของเค้าน่ะ มันมีความหมายแสดงมันออกมาซะทุกวันนี้ผมว่ามันไม่เหมือน เลือกตั้งมันเหมือน พิธีกรรม อะไรซักอย่างมากกว่าทุกๆ 4 ปี ก็จัดให้คนไปหย่อนบัตรทีนึงสร้างความชอบธรรมให้นักการเมือง เอาไปอ้างได้ว่า 'ประชาชน'เลือกฉันมาแล้วก็เละเทะกันไป 4 ปีพอถึงเวลา ก็จัดพิธีกรรมสร้างความชอบธรรมอีกรอบตกลงประชาชนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมทางการเมืองได้ 4 ปีครั้ง?ผ่านการ กากบาท-หย่อนบัตร แค่นั้น ..?แค่มีการเลือกตั้งแล้ว ก็บอกว่าเป็นประชาธิปไตยได้ ผมไม่เชื่อหรอกการมีส่วนร่วมทางการเมือง ต้องมีได้โดยตลอดเวลาทั้งทางตรง และทางอ้อม
อะ ไม่มีอะไร อยากอวดว่าคุณอภิรักษ์เข้ามาที่ร้านผมวันนี้ และผมขอจับมือด้วย (แบบกะว่าคงมีโอกาสครั้งนี้ครั้งเดียวแหละ อิอิ)ได้จับมือคนดัง ได้จับมือคนดัง ... :D
ผมมองอย่างนี้น่ะ การมีส่วนร่วมทางการเมืองน่ะไม่ใช่แค่การเลือกตั้ง แต่การตัดสินใจอะไรก็แล้วแต่ที่มีผลกระทบต่อเราพวกพ้องเรา (ใช้คำนี้ไปเถอะ) เราก็ต้องเดือดร้อนเป็นธรรมดาก็ต้องรู้จักหน้าที่ก่อนเป็นอันดับแรก คุณมีหน้าที่อะไรก็ทำหน้าที่ให้ดี รัฐธรรมนูญก็กำหนดสิทธิและหน้าที่ของคุณไว้ชัด ก็ทำได้เท่านั้น อย่างจ่ายเงินเรียนหนังสือ ยังไปเรียนได้แค่สองสามวันงี้ แล้วเราก็บอกว่าตัวเราเองคิดดี ทำดีกว่านักการเมือง ถ้าจับเราสลับกับนักการเมืองเดี๋ยวนั้นเลย ก็จะได้บ้านเมืองที่ดีกว่างั้นเหรอ นี่คือคำถามเรียนหนังสือจบมา ยังวัดอะไรไม่ได้ ต้องแสดงฝีมือก่อน 1 ปี 2 ปี หรือ 10 ปี ถึงจะพอหล่ะ นี่มองจากตัวเราน่ะ ก็หัดมองคนอื่นแบบนั้นด้วย แล้วถ้าเรายังโทษว่าก็บริษัทมันห่วย นโยบายบริษัทมันไม่ดี มหาวิทยาลัยเมืองไทยเครื่องมือมันไม่มี ไม่ดี หัวหน้าไม่เก่งถ้าข้ออ้างเหล่านี้ยังมีได้ไม่หมดไม่สิ้น ก็คิดเอาแล้วกันว่าในเมื่อเราอ้างได้ ทำไมคนอื่นจะอ้างไม่ได้ มันก็เงินทั้งนั้นแหละว้า
ทำดี กับ รู้ว่าอะไรดีมันไม่เหมือนกันนี่พี่ผมรู้ตัวผมว่าผมขี้เกียจ(มาก)แล้วผมก็รู้ว่าความขี้เกียจคืออะไรถ้ามีคนมาลงสมัคร แล้วผมรู้ว่าคนนี้ขี้เกียจ คนนี้ไม่ขี้เกียจคนนี้ดี คนนี้ไม่ดีผมก็รู้ได้ว่าควรจะเลือกคนไหน(ไม่จำเป็นว่าผมจะต้องดี และไม่ขี้เกียจ ถึงจะมีสิทธิเลือกคนๆ นั้นได้)ผมเล่นเครื่องดนตรีอะไรไม่ได้เลยแต่ก็ยังฟังเพลงได้รู้เรื่องนี่
แล้วเราจะไปรู้ได้อย่างไรว่าคนไหนดี ไม่ดี จากสื่อ ? เวลาสื่อไม่ถูกใจเรา ก็เห็นด่าสื่อกันป่าว ๆ พอสื่อถูกใจเรา เราก็เชื่อหมด หลายเรื่องผมก็ด่านักการเมืองน่ะ แต่ด่าที่โต๊ะกินข้าวกับภรรยา ส่วนใหญ่พอผสมโรงกันคนอื่นผมจะนิ่งเงียบก็ถ้าเราไม่พัฒนาตัวเองเป็นคนที่ดีของสังคม ผู้นำห่อทองมาก็ไม่มีประโยชน์อะไร
Post a Comment
10 comments:
สมมติว่าไม่มีใครได้เลยแล้วจะทำไง
ไร้สาระ ฆ่าคนที่ที่คิดว่าเป็นโจรไปซักสิบคน โจรจะสำนึกผิดหรือไง
แม้คน ๆ เดียวกันยังมีทั้งส่วนดีส่วนเลว เราก็ควรจะเลือกเอาส่วนดีนั้น
ออกมาใช้
เลิกอ่านเถอะบทความของนิธิน่ะ งี่เง่า ไร้สาระ
อ้าวไหนว่าจะเลือก ชูวิทย์ ... (นึกว่ามีเพื่อนร่วมอุดมการณ์)
แล้วทำไมต้องโดนบังคับเลือกด้วยล่ะ?
มันควรจะมีกฏหมายที่ว่า ถ้าผู้สมัครที่ได้คะแนนที่ 1 กับที่ 2 (3,4,.. )
ได้คะแนนเสียงขาดกันไม่เกินกี่ % ให้เอาคนที่ได้คะแนนสูงสุด n คน
มาเลือกกันใหม่
(n จะกำหนดตายตัวก็ได้ หรือจะแปรตามจำนวนส่วนต่างของเสียงก็ได้)
-- แบบนี้ก็น่าจะลดเรื่อง "ดึงคะแนน" ได้ด้วย
สมมติ a b c
และสมมติ a b ดีพอๆ กัน และมีนโยบายคล้ายๆ กัน
ส่วน c ดีน้อยกว่าหน่อย แต่นโยบายแตกต่างจาก a กะ b
แบบนี้กลุ่มคนที่ชอบทั้ง a กะ b ก็ไม่รู้จะเอาไงดี ก็ต้องเลือกคนใดคนหนึ่ง -- เสียงแตก
มันก็เป็นไปได้ที่ c จะได้รับเลือกไป
และถ้าเกิดว่าคนที่ได้คะแนนสูงสุด ยังได้คะแนนไม่เกินครึ่งนึงของผู้มีสิทธิลงคะแนน
(หรือจำนวนผู้มาลงคะแนน -- หรือจำนวนคะแนนสุทธิทั้งหมด, หักบัตรเสียแล้ว)
คนที่ได้คะแนนสูงสุดก็ไม่น่าจะเรียกได้ว่าเป็น "ผู้แทนราษฎร" ได้นะ
เลือกกันใหม่ไม่ได้เหรอครับ?
ไม่อยากโดน บังคับเลือก นักเลือกตั้ง น่ะ
อยากเลือก ตัวแทน
ไม่เลือกใคร ก็ไม่เห็นเป็นไร ถ้าไม่ถูกใจ หรือถ้าบอกว่าคะแนนไม่ถึงกี่ % ต้องเลือกใหม่ มันก็คล้ายๆ ในการลงคะแนนอะไรหลายๆ อย่างเหมือนกรรมการบริษัท
แต่ไอ้เหตุผลในบทความนั้นมันงี่เง่านะผมว่า ไม่เลือก เพื่อเป็นการสั่งสอนนักการเมืองเหรอ? เพื่อแสดงใ้ห้รู้ว่าเราไม่พอใจตัวเลือกเหรอ? คิดว่านักการเมืองสนเหรอ???
แล้วถ้าสนแล้ว? (ไอ้ที่ว่าจะสนแล้วจะได้ไปทำนโยบายใหม่ วางตัวคนใหม่ เพื่อให้ถูกใจมากขึ้นนี่ ตลกมาก ตลกจริงๆ)
ผมว่าบทความมันเอาเรื่องนู้นเรื่องนี้มาตีกันมั่วมาก เหตุผลก็ไม่ได้ต่อเนื่องอะไรกันซักนิด
(ขอโทษที่ดุเดือดไปหน่อย ได้เรื่องนี้จาก forward mail หลายทีแล้ว อ่านแล้วหงุดหงิดว่ามันคิดได้ไงวะ)
ichris
เหตุผลหลักๆ ที่ผมโปรโมตเวบนั้น
ก็เพราะอยากจะบอกให้รู้ กันลืม ว่า
เรามีสิทธิที่จะทำอย่างนั้นนะ
ส่วนใครจะใช้เหตุผลอะไรอย่างไร
ก็แล้วจะพิจารณา
ตัวผมเองไม่คิดว่านักการเมืองที่ลงเลือกจะสนใจอะไร
แต่ถ้าผลมันออกมาว่าไม่มีใครได้รับเลือกจริงๆ
มันจะเป็นการส่งสัญญานให้คนอื่นๆ ที่เคยอยากลงรับสมัคร
แต่ไม่กล้าลงเพราะคิดไปว่า กูไม่ได้สังกัดพรรคใหญ่
ลงไปยังไงก็คงไม่ได้รับเลือก อาจจะได้มีความกล้าขึ้นมาบ้าง
นี่ก็เหตุผลหนึ่ง
อีกเหตุผลหนึ่งก็คือ ถ้าผลมันออกมางั้นจริงๆ (ไม่มีใครได้รับเลือก)
มันก็จะเป็นข่าว แล้วประชาชนทั่วไปก็จะได้รู้ว่า คะแนนเสียงน่ะเป็นของเค้าจริงๆ
อำนาจน่ะอยู่ที่มือเค้า ต่อไปเวลาจะเลือก หรือมีเหตุการณ์อะไร
เค้าก็จะได้ตระหนักมากขึ้น ว่า 1 เสียงของเค้าน่ะ มันมีความหมาย
แสดงมันออกมาซะ
ทุกวันนี้ผมว่ามันไม่เหมือน เลือกตั้ง
มันเหมือน พิธีกรรม อะไรซักอย่างมากกว่า
ทุกๆ 4 ปี ก็จัดให้คนไปหย่อนบัตรทีนึง
สร้างความชอบธรรมให้นักการเมือง เอาไปอ้างได้ว่า 'ประชาชน'เลือกฉันมา
แล้วก็เละเทะกันไป 4 ปี
พอถึงเวลา ก็จัดพิธีกรรมสร้างความชอบธรรมอีกรอบ
ตกลงประชาชนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมทางการเมืองได้ 4 ปีครั้ง?
ผ่านการ กากบาท-หย่อนบัตร แค่นั้น ..?
แค่มีการเลือกตั้งแล้ว ก็บอกว่าเป็นประชาธิปไตยได้ ผมไม่เชื่อหรอก
การมีส่วนร่วมทางการเมือง ต้องมีได้โดยตลอดเวลา
ทั้งทางตรง และทางอ้อม
อะ ไม่มีอะไร อยากอวดว่าคุณอภิรักษ์เข้ามาที่ร้านผมวันนี้ และผมขอจับมือด้วย (แบบกะว่าคงมีโอกาสครั้งนี้ครั้งเดียวแหละ อิอิ)
ได้จับมือคนดัง ได้จับมือคนดัง ... :D
ผมมองอย่างนี้น่ะ การมีส่วนร่วมทางการเมืองน่ะไม่ใช่แค่การ
เลือกตั้ง แต่การตัดสินใจอะไรก็แล้วแต่ที่มีผลกระทบต่อเรา
พวกพ้องเรา (ใช้คำนี้ไปเถอะ) เราก็ต้องเดือดร้อนเป็นธรรมดา
ก็ต้องรู้จักหน้าที่ก่อนเป็นอันดับแรก คุณมีหน้าที่อะไรก็ทำหน้าที่
ให้ดี รัฐธรรมนูญก็กำหนดสิทธิและหน้าที่ของคุณไว้ชัด ก็ทำได้
เท่านั้น
อย่างจ่ายเงินเรียนหนังสือ ยังไปเรียนได้แค่สองสามวันงี้ แล้วเรา
ก็บอกว่าตัวเราเองคิดดี ทำดีกว่านักการเมือง ถ้าจับเราสลับกับ
นักการเมืองเดี๋ยวนั้นเลย ก็จะได้บ้านเมืองที่ดีกว่างั้นเหรอ นี่คือคำ
ถาม
เรียนหนังสือจบมา ยังวัดอะไรไม่ได้ ต้องแสดงฝีมือก่อน 1 ปี
2 ปี หรือ 10 ปี ถึงจะพอหล่ะ นี่มองจากตัวเราน่ะ ก็หัดมองคนอื่น
แบบนั้นด้วย แล้วถ้าเรายังโทษว่าก็บริษัทมันห่วย นโยบายบริษัท
มันไม่ดี มหาวิทยาลัยเมืองไทยเครื่องมือมันไม่มี ไม่ดี หัวหน้าไม่เก่ง
ถ้าข้ออ้างเหล่านี้ยังมีได้ไม่หมดไม่สิ้น ก็คิดเอาแล้วกันว่าในเมื่อเรา
อ้างได้ ทำไมคนอื่นจะอ้างไม่ได้
มันก็เงินทั้งนั้นแหละว้า
ทำดี กับ รู้ว่าอะไรดี
มันไม่เหมือนกันนี่พี่
ผมรู้ตัวผมว่าผมขี้เกียจ(มาก)
แล้วผมก็รู้ว่าความขี้เกียจคืออะไร
ถ้ามีคนมาลงสมัคร แล้วผมรู้ว่าคนนี้ขี้เกียจ คนนี้ไม่ขี้เกียจ
คนนี้ดี คนนี้ไม่ดี
ผมก็รู้ได้ว่าควรจะเลือกคนไหน
(ไม่จำเป็นว่าผมจะต้องดี และไม่ขี้เกียจ ถึงจะมีสิทธิเลือกคนๆ นั้นได้)
ผมเล่นเครื่องดนตรีอะไรไม่ได้เลย
แต่ก็ยังฟังเพลงได้รู้เรื่องนี่
แล้วเราจะไปรู้ได้อย่างไรว่าคนไหนดี ไม่ดี จากสื่อ ?
เวลาสื่อไม่ถูกใจเรา ก็เห็นด่าสื่อกันป่าว ๆ พอสื่อถูกใจ
เรา เราก็เชื่อหมด
หลายเรื่องผมก็ด่านักการเมืองน่ะ แต่ด่าที่โต๊ะกินข้าว
กับภรรยา ส่วนใหญ่พอผสมโรงกันคนอื่นผมจะนิ่งเงียบ
ก็ถ้าเราไม่พัฒนาตัวเองเป็นคนที่ดีของสังคม ผู้นำห่อ
ทองมาก็ไม่มีประโยชน์อะไร
Post a Comment